พระราชบัญญัติงาช้าง พ.ศ. ๒๕๕๘
เพื่อให้เป็นไปตามกฏหมายดังกล่าว สมาชิกทุกท่านต้องอ่านทำความเข้าใจและปฏิบัติตามอย่างเคร่งคัด
เข้าสู่ระบบ
หน้าแรก
เก้าสิบเก้าวัด
ร้านพระเครื่อง
กระดานสนทนา
สมัครสมาชิก
ติดต่อทีมงาน
ค้นหาข้อมูล
เข้าสู่ระบบ
พระนางพญา พิมพ์...
พระนางพญา พิมพ์เข่าตรง มือตกเข่า
พระนางพญา พิมพ์เข่าตรง มือตกเข่า
ถือกำเนิดเกิดขึ้นในยุคเดียวกันกับพระนางพญา พิมพ์อื่น ๆ เพราะ “ผู้สร้าง” ก็คือ “คนเดียวกัน” ที่มีพระนามว่า “พระวิสุทธิกษัตรี” ระหว่างปี พ.ศ. ๒๐๙๐-๒๑๐๐ เมื่อครั้ง “สมเด็จพระมหาธรรมราชา” พระสวามีทรงปกครอง เมืองพิษณุโลก
ด้วยเหตุนี้คุณค่า “ความนิยม” รวมทั้ง “ราคา” จึงอยู่ในระดับเดียวกันกับพิมพ์ “มือไม่ตกเข่า” เนื่องจาก “พิมพ์ทรง” ตลอด จน “ขนาด” ขององค์พระรวมทั้ง “จุดสังเกต” ก็เท่าเทียมและเหมือนกันกับพิมพ์ “มือไม่ ตกเข่า” ทุกประการจะ “แตกต่าง” ตรงที่ “มือไม่ตกเข่า” กับ “มือตกเข่า” เท่านั้น
ดังนั้นการชี้ “จุดสังเกต” จึงคล้ายกันแทบทุกประการดังนี้
๑. พระเกศ (ผม) มีทั้งตั้งตรงและเอียงเล็กน้อยส่วน พระนลาฏ (หน้าผาก) จะมีร่องรอยของการยุบตัว (เช่นเดียวกันกับพิมพ์เข่าโค้งที่เกิดจากแม่พิมพ์)
๒. พระพักตร์ (หน้า) ขององค์ที่พิมพ์ติดชัดจะปรากฏ พระเนตร (ตา) พระโอษฐ์ (ปาก) ให้เห็นชัดเจนกว่าพิมพ์เข่าโค้ง
๓. พระกรรณ (หู) ทั้งสองข้างมีลักษณะคล้ายพระจันทร์เสี้ยวและมีระยะห่างจาก พระพักตร์ (หน้า) แต่พองามและ ปลายพระกรรณ ด้านซ้ายองค์พระ จะเชื่อมติดกับ เส้นสังฆาฏิ ตรงบริเวณ พระ อังสาซ้าย (ไหล่ซ้าย) ที่ทอดยาวลงไปยังบริเวณ พระนาภี (สะดือ)
๔. จะปรากฏ เส้นจีวร ที่ชัด เจนและชอนเข้าไปยัง พระกัจฉะ (รักแร้) ด้านขวามือองค์พระและบริเวณ พระอุทร (ท้อง) ด้านซ้ายมือองค์พระที่ติดกับปลาย เส้นสังฆาฏิ จะมี เนื้อเกิน เป็นข้อสังเกต
๕. พระเพลา (ตัก) ด้านขวาองค์พระจะเป็นเส้นเล็กเรียวมีลักษณะเป็น เส้นตรง อันเป็นที่มาของ ชื่อพิมพ์ และเป็นเส้นขนานกับ พระเพลา ด้านซ้ายที่หนาใหญ่กว่าเท่าตัว
๖. พระกร (มือ) ด้านขวาองค์พระ ที่วางพาดไปบน พระชานุขวา (เข่าขวา) จะเลยพระชานุลงไปยังด้านล่างเล็กน้อยจึง เป็นที่มาของคำว่า “มือตกเข่า” และมี เส้นพิมพ์แตก ปรากฏบริเวณ ปลายพระบาทซ้าย (เท้าซ้าย).
๗.จะปรากฏเส้น พระศอ
ขอขอบคุณ : ที่มา
http://www.nightsiam.com/forum/index.php?topic=3666.0;wap2
ผู้เข้าชม
10217 ครั้ง
ราคา
0910657798
สถานะ
โชว์พระ
โดย
naput
ชื่อร้าน
ตรีนิสิงห์ พระเครื่อง
ร้านค้า
trinising.99wat.com
โทรศัพท์
0889747991
ไอดีไลน์
0889747991
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารกสิกรไทย / 376-2-27954-0
2. ธนาคารกสิกรไทย / 037-3-86656-3
เหรียญ รุ่นสอง พระครูปลัดว
หลวงพ่อเงิน รุ่นปืนแตก วัดคงคา
พระสมเด็จวัดระฆัง พิมพ์พระประธ
พระสมเด็จวัดระฆัง พิมพ์พระประธ
ผ้ายันต์มหาพิชัยสงคราม หลวงพ่อ
ภาพถ่าย หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉ
หลวงปู่ทวด พิมพ์ต้อเล็ก ปี 249
รูปหล่อ หลวงพ่อเดิม วัดหนองหลว
พระกรุวัดทัพข้าว พิมพ์หลวงพ่อโ
เก้าสิบเก้าวัด
ร้านพระเครื่อง
กระดานสนทนา
ลงพระฟรี
สมัครสมาชิก
ติดต่อทีมงาน
ลืมรหัสผ่าน
ผู้เข้าใช้งานล่าสุด
someman
ponsrithong2
Yayoi
wach2514
เพ็ญจันทร์
นานา
Le29Amulet
สุข อุดร
ยิ้มสยาม573
vanglanna
Achi
ep8600
hopperman
boonyakiat
maximum9
fuchoo18
TotoTato
หริด์ เก้าแสน
ภูมิ IR
สมเกียรติ23
นรินทร์ ทัพไทย
termboon
Muthita
โกหมู
tangmo
ทิน ธรรมยุต
K1Chaiyaphum
เสือรากไทร
ปลั๊ก ปทุมธานี
naput
ผู้เข้าชมขณะนี้ 1413 คน
เพิ่มข้อมูล
พระนางพญา พิมพ์เข่าตรง มือตกเข่า
ส่งข้อความ
ชื่อพระเครื่อง
พระนางพญา พิมพ์เข่าตรง มือตกเข่า
รายละเอียด
พระนางพญา พิมพ์เข่าตรง มือตกเข่า
ถือกำเนิดเกิดขึ้นในยุคเดียวกันกับพระนางพญา พิมพ์อื่น ๆ เพราะ “ผู้สร้าง” ก็คือ “คนเดียวกัน” ที่มีพระนามว่า “พระวิสุทธิกษัตรี” ระหว่างปี พ.ศ. ๒๐๙๐-๒๑๐๐ เมื่อครั้ง “สมเด็จพระมหาธรรมราชา” พระสวามีทรงปกครอง เมืองพิษณุโลก
ด้วยเหตุนี้คุณค่า “ความนิยม” รวมทั้ง “ราคา” จึงอยู่ในระดับเดียวกันกับพิมพ์ “มือไม่ตกเข่า” เนื่องจาก “พิมพ์ทรง” ตลอด จน “ขนาด” ขององค์พระรวมทั้ง “จุดสังเกต” ก็เท่าเทียมและเหมือนกันกับพิมพ์ “มือไม่ ตกเข่า” ทุกประการจะ “แตกต่าง” ตรงที่ “มือไม่ตกเข่า” กับ “มือตกเข่า” เท่านั้น
ดังนั้นการชี้ “จุดสังเกต” จึงคล้ายกันแทบทุกประการดังนี้
๑. พระเกศ (ผม) มีทั้งตั้งตรงและเอียงเล็กน้อยส่วน พระนลาฏ (หน้าผาก) จะมีร่องรอยของการยุบตัว (เช่นเดียวกันกับพิมพ์เข่าโค้งที่เกิดจากแม่พิมพ์)
๒. พระพักตร์ (หน้า) ขององค์ที่พิมพ์ติดชัดจะปรากฏ พระเนตร (ตา) พระโอษฐ์ (ปาก) ให้เห็นชัดเจนกว่าพิมพ์เข่าโค้ง
๓. พระกรรณ (หู) ทั้งสองข้างมีลักษณะคล้ายพระจันทร์เสี้ยวและมีระยะห่างจาก พระพักตร์ (หน้า) แต่พองามและ ปลายพระกรรณ ด้านซ้ายองค์พระ จะเชื่อมติดกับ เส้นสังฆาฏิ ตรงบริเวณ พระ อังสาซ้าย (ไหล่ซ้าย) ที่ทอดยาวลงไปยังบริเวณ พระนาภี (สะดือ)
๔. จะปรากฏ เส้นจีวร ที่ชัด เจนและชอนเข้าไปยัง พระกัจฉะ (รักแร้) ด้านขวามือองค์พระและบริเวณ พระอุทร (ท้อง) ด้านซ้ายมือองค์พระที่ติดกับปลาย เส้นสังฆาฏิ จะมี เนื้อเกิน เป็นข้อสังเกต
๕. พระเพลา (ตัก) ด้านขวาองค์พระจะเป็นเส้นเล็กเรียวมีลักษณะเป็น เส้นตรง อันเป็นที่มาของ ชื่อพิมพ์ และเป็นเส้นขนานกับ พระเพลา ด้านซ้ายที่หนาใหญ่กว่าเท่าตัว
๖. พระกร (มือ) ด้านขวาองค์พระ ที่วางพาดไปบน พระชานุขวา (เข่าขวา) จะเลยพระชานุลงไปยังด้านล่างเล็กน้อยจึง เป็นที่มาของคำว่า “มือตกเข่า” และมี เส้นพิมพ์แตก ปรากฏบริเวณ ปลายพระบาทซ้าย (เท้าซ้าย).
๗.จะปรากฏเส้น พระศอ
ขอขอบคุณ : ที่มา
http://www.nightsiam.com/forum/index.php?topic=3666.0;wap2
ราคาปัจจุบัน
0910657798
จำนวนผู้เข้าชม
10333 ครั้ง
สถานะ
โชว์พระ
โดย
naput
ชื่อร้าน
ตรีนิสิงห์ พระเครื่อง
URL
http://www.trinising.99wat.com
เบอร์โทรศัพท์
0889747991
ID LINE
0889747991
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารกสิกรไทย / 376-2-27954-0
2. ธนาคารกสิกรไทย / 037-3-86656-3
กำลังโหลดข้อมูล
หน้าแรกลงพระฟรี